อุตสาหกรรม รุ่น 10

อุตสาหกรรม รุ่น 10
อุตสาหกรรม รุ่น 10

วันอาทิตย์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 8

ชุมชนพิพิธภัณฑ์

ทุกวันนี้การเดินทางไปเยือนเวียดนามทำได้อย่างง่ายดายราวกับเดินไปเที่ยวตลาดนัดหน้าปากซอย คนไทยจำนวนไม่น้อยรู้จักเมืองใหญ่ๆ ในเวียดนามอย่าง ฮานอย เว้ ดานัง ฮอยอัน โฮจิมินห์ ฯลฯ มากกว่าบางจังหวัดในประเทศไทย สถานที่ท่องเที่ยวประเภทหนึ่งที่มักถูกบรรจุอยู่ในรายการท่องเที่ยวคือคือพิพิธภัณฑ์ประจำเมืองและพิพิธภัณฑ์ขนาดใหญ่ๆ อย่างเช่นพิพิธภัณฑ์ที่เกี่ยวกับสงครามที่มีอยู่อย่างดกดื่น แต่อาจจะเป็นด้วยข้อจำกัดด้านเวลาที่ต้องเผื่อไว้ไปเยือนสถานที่ประเภทอื่นๆ ให้ครบถ้วนตามที่คัมภีร์ท่องเที่ยวแนะนำ รวมถึงเผื่อไว้ “ชอปปิ้ง” ทำให้พิพิธภัณฑ์ขนาดเล็กหลายแห่งถูกละเลย

วันเสาร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 7

บทความนี้เป็นทัศนะส่วนตัวของผู้เขียนจากประสบการณ์ของบรรณารักษ์งานวารสาร ผู้เขียนคาดหวังเพียงเพื่อ เปิดความคิดเห็นแก่ผู้ใช้บริการวารสารภาษาต่างประเทศของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรณีที่ท่านผู้อ่านมีทัศนะเป็นอื่น ย่อมเป็นการดียิ่งที่จะแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น เพื่อการพัฒนางานร่วมกันต่อไป พัฒนาการของรูปแบบวารสาร
วารสารเป็นสารนิเทศที่สำคัญของห้องสมุด เพราะเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ความรู้ ความคิด เสนอความเคลื่อนไหวและพัฒนาการของวิทยาการสาขาต่างๆ ที่ได้จากการค้นคว้า วิจัย รวมทั้งให้ข้อมูลสถิติ ประกาศ ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ผลผลิตและบริการ วารสารเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีการจัดพิมพ์ออกมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้สามารถนำเสนอเรื่องราวความก้าวหน้าต่างๆได้อย่างรวดเร็วกว่าหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ ดังนั้น สารนิเทศจากวารสารจึงมีความทันสมัยกว่าสารนิเทศจากแหล่งอื่น (Osborn, 1980)
เนื่องจากความสำคัญดังกล่าวทำให้สำนักพิมพ์ต่างๆผลิตวารสารออกมาในหลายรูปแบบ ทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์ รูปแบบวัสดุย่อส่วน รูปแบบฐานข้อมูลซีดี-รอม และรูปแบบวารสารอิเล็กทรอนิกส์ บรรณารักษ์จึงต้องศึกษารูปแบบต่างๆของวารสารและจัดหาให้เหมาะสมกับผู้ใช้ ซึ่ง แต่ละรูปแบบก็มีทั้งข้อดีและข้อจำกัด ดังนี้
1. วารสารในรูปแบบสิ่งพิมพ์
2. วารสารในรูปแบบวัสดุย่อส่วน
3. วารสารในรูปแบบฐานข้อมูลซีดี - รอม
4. วารสารในรูปแบบวารสารอิเล็กทรอนิกส์

วันศุกร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 6

e-journel

As a songwriter, performer, and musician, Buddy Holly remains one of the most influential rock 'n' roll entertainers of all time. Artists such as the Beatles, the Rolling Stones, Bob Dylan, the Byrds, Eric Clapton, Pete Townshend, Elton John, and Bruce Springsteen have all acknowledged Holly's influence on their music. His career was painfully short, lasting from September 1957--when "That'll Be the Day" became a chart-topping hit--to February 3, 1959--when Holly died in a tragic plane crash in Iowa. But, as Holly biographer Philip Norman has pointed out, in that short period of time, "he created a blueprint for enlightened rock stardom that every modern newcomer with any pretense at self-respect still aspires to follow."
Holly's musical legend is replete with many firsts. He was the first rock performer to insist on artistic control over his material. He was the first to write his own songs, and the first to arrange them and supervise his own studio sessions. He was the first to master the technical aspects of the recording business, achieving effects with echo, double-tracking, and overdubbing. He was the first rocker to eschew the "pretty boy" looks of most performers of the 1950s, adopting a more bookwormish look complete with black horn-rim glasses. In addition, he was the first rock performer capable of attracting a faithful male audience as much as a female one. Holly was only twenty-two years old when he died, but he left behind a legacy of songs that have steadily grown in stature and influence, making him one of the genuine legends of popular music.